บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
ในชีวิตประจำวัน เราจะเห็นการเคลื่อนที่ของสิ่งต่าง ๆ มากมาย หลากหลายรูปแบบ เช่นการเคลื่อนที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของคนเดิน นกบิน รถยนต์แล่น และใบไม้ร่วง เป็นต้น เมื่อ พิจารณาการเคลื่อนที่เหล่านั้นแล้ว จะพบว่า ส่วนใหญ่มีลักษณะซับซ้อน เช่น มีเส้นทางการ เคลื่อนที่เป็นแนวเส้นโค้งวกวน เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจการเคลื่อนที่เราจะเริ่มศึกษาจากการ เคลื่อนที่เฉพาะในแนวเส้นตรงก่อน แล้วจึงจะขยายความเข้าใจ กับการเคลื่อนที่ในสองและสามมิติ หรือในลักษณะที่ซับซ้อนในลำดับต่อไป
ภาพเคลื่อนไหวประกอบการบรรยาย เรื่อง การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
ที่มา : สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
2.1 ตำแหน่งและการกระจัด
2.2 ความเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วเฉลี่ย
2.3 ความเร็วและอัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง
2.4 ความเร่ง
2.5 การเคลื่อนที่กรณีความเร่งเป็นค่าคงตัว
2.6 วัตถุตกอย่างเสรีมีความเร่งเป็นค่าคงตัว
2.7 การเคลื่อนที่ใน 2 มิติและ 3 มิติ
2.8 เวกเตอร์ตำแหน่งและเวกเตอร์ความเร็วในสองมิติ
2.9 ความเร่งในสองมิติ
2.10 ความเร็วสัมพัทธ์
2.11 กรอบอ้างอิงเฉื่อย
การทดลองและกิจกรรม
การทดลอง 2.1 การวัดอัตราเร็วโดยใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
การทดลอง 2.2 การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างเสรี
กิจกรรม 2.1
กิจกรรม 2.2
โจทย์แบบฝึกหัด 2
แบบทดสอบ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
ที่มา : สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
สไลด์ประกอบการสอน
ลองฟังเพลงกันดูนะครับ
Clip VDO สรุปเรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
ก็สนุกดีให้ความรู้มากมายแต่น่าจะมีสไลด์เยอะกว่านี้นะค่ะ
สอนดีจัง
สนุกมาได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิชาฟิสิกส์ที่ยังไม่เข้าใจอีกเยอะ
สอนดีจังเลยครับอาจารย์
สนุกมาก
ให้ความรู้มากๆ
ลลิตา ลั่นเต้ง
อ่านแล้วเข้าใจง่ายดีค่ะครู
ชอบๆๆๆๆๆๆๆจัง
ชอบๆๆๆๆๆๆๆจัง
ชอบๆๆๆๆๆๆๆจัง
ชอบๆๆๆๆๆๆๆจัง
ชอบๆๆๆๆๆๆๆจัง
ชอบๆๆๆๆๆๆๆจัง
ชอบๆๆๆๆๆๆๆจัง
ในสไลไม่มีบอกวิธีทำหรอคับครู
ไม่มีคำตอบเลยอ่ะ ทำแล้วตรวจคำตอบไม่ได้
ขอตัวอย่างคำนวนค่ะครู
อยากได้โจทย์บทที่ 2 ครับ
อยากได้โจทย์แบบฝึกหัดที่ 2 8iy[
ขอโทษครับ แบบฝึกหัดที่ 2 ครับ
เนื่องจากไม่มีหนังสือเรียนครับ
ข้อเนื้อหาค่ะครู
อ่านดูได้เลยครับ